วันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2554

การถวายเครื่องบูชาลบมลทินบาป


การถวายเครื่องบูชาลบมลทินบาป



ความแตกต่างของการถวายเครื่องบูชาลบมลทินบาป ระบบเก่าและระบบใหม่
ระบบเก่า

ระบบใหม่

มีผลเพียงชั่วคราว (ฮบ. 8:13)

มีผลถาวรและช่วยได้อย่างสมบรูณ์   (ฮบ. 7:21,25)

อาโรนเป็นมหาปุโรหิตคนแรก (ลนต. 16:32)

พระเยซูทรงเป็นมหาปุโรหิตเพียงผู้เดียว (ฮบ.4:14)

จากเผ่าเลวี (ฮบ.7:5)

จากเผ่ายูดาห์ (ฮบ.7:14)

รับใช้ในโลก (ฮบ.8:4)

รับใช้บนสวรรค์ (ฮบ.8:1-2)

ใช้เลือดของสัตว์ (ลนต.16:15)

ใช้พระโลหิตของพระคริสต์ (ฮบ.10:5,9:12,14,22)


7เทศกาลขององค์พระผู้เป็นเจ้า


คำจำกัดความ
เลวีนิติ 23:2
เวลาที่นัดหมาย              -           MO’edim   (ภาษาฮีบรู)
พระเจ้าประสงค์จะนัดหมายกับเรา

เทศกาลปัสกา


ภาษาฮีบรู ว่า  Pesach (Passover)

ปัสกาคืออะไร

อพยพ 12:1-14

เทศกาลปัสกากระทำกันเมื่อใด

นิสาน 14
ผู้เชื่อในพระเยซูเรียนรู้อะไรจากเทศกาลปัสกา

เทศกาลขนมปังไร้เชื้อ


ซึ่งภาษาฮีบรูสำหรับเทศกาลนี้ คือ  Hag  Hamatzah  Hag  เป็นคำฮีบรูสำหรับเทศกาล  ซึ่งมักจะใช้เกี่ยวข้องกับเทศกาลแห่งการจารึก

Matzah  คือ ขนมปังไร้เชื้อในภาษาฮีบรู

เทศกาลขนมปังไร้เชื้อคืออะไร

อพยพ  12:15-20  และอพยพ 12:31-39  อธิบายถึงเทศกาลนี้อย่างชัดเจน

ขณะที่เทศกาลปัสกาเป็นเทศกาลที่พระเจ้าประทานไว้ให้โดยเฉพาะเพื่อระลึกถึงภัยพิบัติของลูกหัวปี และการได้รอดพ้นจากพัยนั้นโดยความเชื่อวางใจในเลือดของลูกแกะปัสกา  เทศกาลขนมปังไร้เชื้อก็เป็นเทศกาลที่พระเจ้าทรงประทานให้โดยเฉพาะเพื่อระลึกถึงเหตุการณ์จริงของการอพยพ หรือ สภาพการณ์ที่คนอิสราเอลออกจากอียิปต์

เทศกาลเพ็นเทคอสต์


อพยพ 19 และ 20

ปูพื้นฐานไว้ให้แก่เทศกาลเพ็นเทคอสต์
แก่นสารสำคัญของพระธรรมอพยพ คือ  ออกไปเพื่อสรรเสริญ
ที่ภูเขาซีนายนี้  ในเดือนที่สามของสิวานและวันที่ 50 พวกเขาได้รับประสบการณ์ในการทรงประทานพระบัญญัติแก่พวกเขาให้เป็นประชาชาติหนึ่ง
เทศกาล นี้น่าจะเป็นเทศกาลที่พระเจ้าทรงหมายไว้ในพระทัย  เมื่อพระองค์ตรัสบอกโมเสสวาฟาโรห์จะต้องปล่อยประชากรของพระองค์ไปในถิ่น ทุรกันดารเพื่อ “จะทำการเลี้ยงนมัสการแด่พระองค์” (อพยพ 5:1)

วันอาทิตย์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2554

เทศกาลอยู่เพิง เทศกาลของพระเจ้า

เทศกาลอยู่เพิง เทศกาลของพระเจ้า
ไม่ใช่ของชาวยิวเท่านั้น

สิ่งที่พระเจ้าตรัสผ่านผู้เผยพระวจนะในปีนี้คือ
นี่เป็นเวลาที่พระเจ้าสำแดงพระสิริของพระองค์
ให้ปรากฏในโลก ในช่วงต้นปีที่เราอธิษฐาน จะพบ
ว่ามี ข้อพระคัมภีร์ที่เป็นกุญแจของปีนี้คือ

อิสยาห์ 60:1-2
จงลุกขึ้นส่องสว่าง เพราะว่าความสว่างของเจ้ามาแล้ว
และพระเกียรติสิริขององค์พระผู้เป็นเจ้า
ปรากฏขึ้นเหนือเจ้า ดูเถิด ความมืดปกคลุมโลก
ความมืดมิดอยู่เหนือบรรดาประชาชาติ
แต่องค์พระผู้เป็นเจ้าปรากฏขึ้นเหนือเจ้า
พระเกียรติสิริของพระองค์ปรากฏขึ้นเหนือเจ้า
ดังนั้น เราต้องการจะมองดูที่
การเฉลิมฉลองเทศกาลอยู่เพิง
ประสบการณ์การฟื้นฟูทุก ๆ ปี

เทศกาลถวายผลแรก



ผลแรก :  Bikkurim  ในภาษาฮีบรู

เทศกาลถวายผลแรกคืออะไร

เลวีนิติ 23:9-14

ชาวอิสราเอลจะต้องถือ เทศกาลนี้หลังจากได้เข้าไปในดินแดนพระสัญญาแล้ว  ประวัติศาสตร์บันทึกว่าจะมีการเกี่ยวฟ่อนข้าวในคืนวันเสาร์ ซึ่งเป็นวันเริ่มแรกขงอสัปดาห์  แล้วจะมีพิธียื่นถวายให้พระเจ้าทรงรับในวันแรกของสัปดาห์ (วันอาทิตย์) ในระหว่างเทศกาลขนมปังไร้เชื้อ (เลวีนิติ 23:11)

เทศกาลเสียงแตร


กันดารวิถี 10:10

    “ในวันที่เจ้าทั้งหลายมีความยินดี  และในงานเทศกาลและในวันต้นเดือนของเจ้า เจ้าจงเป่าแตรเหนือเครื่องเผาบูชาและเหนือสัตวลูชาอันเป็นเครื่องศานติบูชา เป็นที่ให้พระเจ้าของเจ้าระลึกถึงเจ้า  เราเป็นพระยาห์เวห์พระเจ้าของเจ้า”

แตรในทีนี้ คือ แตรเงิน  2 คัน ที่ได้กล่าวไว้ในกันดารวิถี 10:2

หนังสือโทราห์ได้กำหนดไว้ชัดเจนว่าเมื่อถึงวันแรกที่ดวงจันทร์ขึ้น (Rosh  Chodesh) จะต้องมีเสียงแตรเงินเป็นหมายสำคัญ

เทศกาลลบมลทิน


พระบัญชาให้ถือเทศกาลนี้อยู่ใน เลวีนิติ 23:26-32
รายละเอียดเกี่ยวกับพิธีในพระวิหารสำหรับเทศกาลนี้อยู่ใน เลวีนิติ 16
ลักษณะพิเศษบางประการของวันทำการลบมลทิน
ชื่อในภาษาฮีบรูเรียกว่า Yom  Kippur
การลบมลทินบาปหมายความว่า  ปกคลุม ขจัด แก้ไข คืนดี ปกปิด

เทศกาลอยู่เพิง


เทศกาล อยู่เพิง
เทศกาล อยู่เพิง เป็นเทศกาลสุดท้ายในเทศกาลเลี้ยงขององค์พระผู้เป็นเจ้าที่ปรากฎใน พระคัมภีร์ และเป็นเทศกาลสำคัญที่สุด เพราะเป็นการปิดท้ายวัฏจักรการเก็บเกี่ยว โดยที่เป็นเทศกาลสุดท้ายของฤดูใบไม้ร่วง นอกจากนี้ยังเป็นเทศกาลจารึก 3 เทศกาลที่ฉลองกันในเยรูซาเล็ม ถัดจากเทศกาลปัสกาและเพ็นเทคอสต์
เลวีนิติ 23:33-44
 
คำว่า พลับพลา” (อยู่เพิง) ในภาษาฮีบรู คือ “Sukkot” (เอกพจน์คือ : sukah) ซึ่งหมายถึงเพิงพักหรือที่พักอาศัยชั่วคราว พระคัมภีร์ไบเบิลภาษาละตินใช้คำว่า “tabernacula” (ไม่ใช่ Dracula!) ซึ่งภาษาอังกฤษยืมมาใช้ว่า “tabernacles” เทศกาลนี้บางครั้งรู้จักกันว่าเป็น ฤดูกาลแห่งความชื่นชมยินดีของเราภาษาฮีบรูว่า “Z’man Simchateinu” เนื่องจากเทศกาลนี้เป็นเครื่องหมายถึงการเก็บเกี่ยวผลไม้ในเดือนกันยายน/ตุลาคม ของแต่ละปี จึงมักรู้จักกันในนามของ เทศกาลการรวบรวมผลิตผลด้วย